ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

พุทธมณฑลศึกษา (Phutthamonthon Studies)


MU-LA

  

 
คำอธิบายรายวิชา
       แนวคิดและทฤษฎีที่สำคัญในการศึกษาชุมชน  พัฒนาการของชุมชนในพื้นที่อำเภอพุทธมณฑล ประเพณี วัฒนธรรม การแพทย์พื้นบ้าน เศรษฐกิจและสังคม ทิศทางและแนวโน้มในการศึกษาพื้นที่อำเภอพุทธมณฑล
       Concepts and theoretical notion in the study of a community; the community development in the Phuttamonthon district; tradition, culture, folk medicine, direction and trends in the study of the Phutthamonthon district

 

 
เกี่ยวกับรายวิชา
ชื่อรายวิชา (ภาษาไทย): พุทธมณฑลศึกษา
ชื่อรายวิชา (ภาษาอังกฤษ): Phutthamonthon Studies
คณะ/ส่วนงานผู้พัฒนารายวิชา: ศิลปศาสตร์
จำนวนชั่วโมงการเรียนรู้ออนไลน์ทั้งหมด: 15  ชม.
จำนวนชั่วโมงที่ต้องใช้ในการเรียนรู้ต่อสัปดาห์/หรือต่อครั้ง : 1-2 ชม.
ประเภทวิชา: Inter Cultural & Global Awareness Literacy
ระดับของเนื้อหารายวิชา : เบื้องต้น
รูปแบบการเรียนในรายวิชา : เรียนด้วยตนเอง (self-paced)
ภาษาที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน: ภาษาไทย
Subtitle: มี
กลุ่มเป้าหมายของรายวิชา : - นักเรียน/นักศึกษา (ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายขึ้นไป ไม่จำกัดสาขาการเรียน หรือสายการเรียน)
- บุคคลทั่วไป (ผู้ที่มีความสนใจในด้านประวัติศาสตร์ท้องถิ่น , ผู้ที่เริ่มงานในพื้นที่อำเภอพุทธมณฑล)
   
  คุณสมบัติผู้เรียน/ความรู้พื้นฐานที่ควรมีมาก่อน:
  • การใช้งานอินเทอร์เน็ตพื้นฐาน
 
  วัตถุประสงค์การเรียนรู้:
  • LO1:อธิบายลักษณะเฉพาะของสังคมและวัฒนธรรมของอำเภอพุทธมณฑลได้ถูกต้อง
  • LO2:วิเคราะห์พัฒนาการทางสังคมของชุมชนพุทธมณฑลและผลกระทบทางสังคมในมิติต่าง ๆ ได้อย่างเป็นองค์รวม
  • LO3:อธิบายบทบาทของมหาวิทยาลัยมหิดลต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของอำเภอพุทธมณฑลในมิติต่าง ๆ ได้ถูกต้อง
  • LO4:ออกแบบโครงงานพัฒนาชุมชน โดยคำนึงถึงความต้องการของชุมชนในอำเภอพุทธมณฑล ข้อมูลนำเข้าจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ หลักกฎหมาย จริยธรรม และบริบททางสังคมและวัฒนธรรมของชุมชนอย่างรอบด้าน
  • LO5: แสดงบทบาทในฐานะสมาชิกของกลุ่ม “คนมหิดล” เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการทำงานร่วมกันได้อย่างกลมกลืน
  • LO6: นำเสนอโครงงานพัฒนาชุมชนต่อประชาชนทั่วไปในชุมชนได้อย่างชัดเจน
 
  นโยบายการวัดประเมินผล เกณฑ์การให้คะแนน การผ่าน/ไม่ผ่าน และใบประกาศนียบัตร
      ผู้เรียนได้รับประกาศนียบัตรอิเล็คทรอนิกส์ เมื่อผ่านการวัดผลทั้งหมด และได้ผลการประเมินเกิน 60%

 

 ทีมผู้สอนและทีมผู้พัฒนารายวิชาออนไลน์
     
  รองศาสตราจารย์ ดร.อภิลักษณ์ เกษมผลกูล
อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
e-mail: Aphilak.kas@gmail.com
     
 
ลงทะเบียน
ติดต่องานเทคโนโลยีการศึกษา กองบริหารการศึกษา
ในวันและเวลาราชการ : วันจันทร์ - วันศุกร์ 08.30-16.30 น.
โทร : 02-849-4600   Fanpage : MUx.Mahidol